หน้าแรก » เปิดกรุ

ปากกาหัวตัด

แบบร่าง (SOV_BabRang)

โดย • 23/12/2565

ฟอนต์แบบร่าง แค่อยากนำเสนอส่วนก่อนจะสำเร็จเป็นฟอนต์ เหมาะใช้พาดหัวตัวใหญ่ๆ คำยาวๆ หรือตัวเล็กไปไม่เหมาะ ถ้าอยากใช้…ให้กดเอียงเพื่อเอาเส้นบรรทัดออก

ขมังเวทย์ (j.devilfont@Khamang Wet)

โดย • 13/09/2565

ผลงานฟอนต์ที่ตัว 7 ชื่อฟอนต์ ขมังเวทย์ เป็นชุดอักษรไทยโบราณ

นาคราช (MN NAKHARAT)

โดย • 06/08/2565

แจกฟรี!! สำหรับใช้ส่วนตัวกับงานที่ไม่เกิดรายได้เท่านั้น ถูกใจ! ต้องการใช้เชิงพาณิชย์ ราคาเริ่มต้น 290.-

นมัสการ | Namaskarn

โดย • 04/08/2565

ฟอนต์ นมัสการ แบบอักษรได้แรงบันดาลใจจากเขียนตัวอักษรวิจิตรด้วยปากกาหัวตัด ที่มีองศาในการเดินเส้นที่ 45 องศา เลยเอาตัวเลข 45 องศามาใช้ในการออกแบบ สังเกตได้จากการจบเส้น เช่น c, r ปลายตัดที่ 45 องศา  แบบอักษรมีความเปรียบต่างสูง เหมาะกับการใช้เป็นพาดหัว ข้อความสั้นๆ หรือ Quote มี 9 น้ำหนัก ทั้งตัวตรงและตัวเอียงรวมเป็น 18 สไตล์

แก้วกัลยา (MN KAEWKANLAYA)

โดย • 27/05/2565

แจกฟรี!! สำหรับใช้ส่วนตัวกับงานที่ไม่เกิดรายได้เท่านั้น ถูกใจ! ต้องการใช้เชิงพาณิชย์ ราคาเริ่มต้น 290.-

ฟอนต์ชุด อิทธิบาท๔ (SOV_Iddhipada)

โดย • 23/05/2565

ฟอนต์ชุด ประกอบด้วยฟอนต์ 4 รูปแบบ1. ฉันทะ อักษรตัวมนๆ เดินเส้นแนวจารึกพ่อขุนราม2. วิริยะ อักษรหักเหลี่ยมย่อมุม จากอักษรไทยย่ออยุธยา3. จิตตะ อักษรตวัดหางยาวแคบ แบบตัวอาลักษณ์ธนบุรี4. วิมังสา อักษรแนวน้อยๆตามสมัยนิยม ตัดเส้นโค้งและมุมฉากทิ้ง

โนราห์ (SOV_norah)

โดย • 24/04/2565

ฟอนต์โนราห์ อักษรปากกาหัวตัด สบัดปลายนิดๆเพิ่ม bold font สำหรับการตวัดเส้น ซ้ายขวา และมีอักษรเส้นตวัดพิเศษนิดหน่อย

ซ่อม๒๔๙๖ (SOV_sorm2496)

โดย • 10/02/2565

ฟอนต์นี้ทำเนื่องจากกระทู้ถามฟอนต์ แต่จากหลักฐานปีที่ซ่อมสร้างเสร็จในภาพ ยังไม่น่าจะมีการทำฟอนต์แบบปัจจุบัน ยิ่งหาข้อมูลยิ่งพบความน่าสนใจ จนนำไปสู่การทำฟอนต์จนได้

นางสาวสยาม (was@narngsarwsiam)

โดย • 21/07/2564

ฟอนต์ริบบิ้น เป็นพื้นฐานการเขียนของช่างเขียนป้าย ฟอนต์นี้ถือเป็นฟอนต์ครู ลักษณะคล้ายๆ กันหมด แต่ดูอย่างสังเกตจริงๆ แล้ว สิบช่างเขียนก็เขียนไม่เหมือนกัน คล้ายลายมือของแต่ละคน จะมีลูกเล่นพลิกแพลงได้ในทุกตัวอักษร  ตัวนี้ผมทำขึ้นมาเพื่อเพิ่มเติมส่วนที่ขาดหาย ที่เป็นสไตล์การเขียนพู่กันของผม

SOV_JD_Suksawad

โดย • 13/07/2563

ติดตาม Facebook อักษรตัวเขียน  ติดใจในลายมือ อ.จินดา เนื่องจำนงค์ โดยเฉพาะตัว Calligraphy ภาษาไทย ที่อาจารย์นำมาประยุกต์ใช้กับปากกาหัวตัด พู่กันแบน หรือแม้แต่กิ่งไม้เหลา จึงเก็บสะสมตัวอักษรที่อาจารย์เขียนมาเรื่อยๆ เพื่อศึกษาแนวทางในการทำฟอนต์ พบว่า ฟอนต์เดียวไม่เพียงพอ