หน้าแรก » เปิดกรุ

อ่อนช้อย

ทีเอ ลัลลาบาย (TA Lullaby)

โดย • 25/10/2564

เป็นฟอนต์แนวปลายตัดโค้ง ที่ผมทดลองเล่นลูกเล่นกับการสะบัดของหางให้ตัวหนังสือมีการเชื่อมต่อกันนะครับแต่เพื่อให้อ่านง่ายและใช้งานได้หลากหลายขึ้น จึงทำฟอนต์นี้แบบไม่เล่นหางออกมาอีกแบบด้วยจึงได้ฟอนต์ออกมา 2 แบบ คือ TA lullaby LS ตัวเล่นหาง กับ TA Lullaby NM ตัวไม่มีหาง

อรรธจันทร์ | Atthachantr

โดย • 13/09/2564

ออกแบบโดย : อานุภาพ ใจชำนาญwebsite : jipatype.com

หยดน้ำ (Yodnam)

โดย • 01/07/2564

ออกแบบโดย : อานุภาพ ใจชำนาญwebsite : jipatype.com

บานบุรี (Banburi)

โดย • 18/01/2564

เริ่มแรกอยากได้ฟอนต์ที่ให้ความรู้สึกพริ้วไหว แต่ไม่ใช่แบบพริ้วจนอ่อนละชอยเกินไปนัก อยากให้คงดูเป็นมาตรฐานเอาไว้ ทั้งนี้โดยการทำให้ปลายเส้นมีความมนและจรดปลายแหลม และจะพริ้วมากยิ่งขึ้นเมื่อใช้สไตล์ Italic มีความเข้ากันได้อย่างไม่น่าเชื่อ

KJR VACHIRAPORN TODLONG

โดย • 20/12/2562

เป็นฟอนต์แนวลายมืออีกหนึ่งแบบที่อยากนำเสนอ ตัวนี้ทำขึ้นมา 2 แบบ เพื่อเพิ่มความสวยงามในการออกแบบ จับมาผสมกันก็ดูดีไปอีกแบบ

*** ฟอนต์ที่แจกให้ดาวน์โหลดฟรีชุดนี้เป็นตัวทดลองใช้ครับ ซึ่งมีอักษรและสระไม่ครบ อนุญาตให้ใช้เฉพาะส่วนตัวเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ในเชิงพาณิชย์ ที่ก่อให้เกิดรายได้ในทุกกรณี มิฉะนั้นแล้วถือว่าละเมิดลิขสิทธิ์***ขอสงวนสิทธิ์เปลี่ยนแปลงเงื่อนไขโดยไม่แจ้งล่วงหน้า****

เคเจอาร์ กัลปพฤกษ์ (KJR KALAPAPRUEK)

โดย • 02/09/2562

อยากได้ฟอนต์แนว calligraphy แบบไทยๆ ให้ดูมีความนุ่มละมุนนุ่มนวล จึงทำตัวนี้ขึ้นมา อาจไม่ลงตัวเท่าที่ควร เพราะภาษาไทยทำให้เชื่อมต่อกันทุกตัวมันค่อนข้างยากมากแต่ก็ถือว่าพอใจมากกับตัวนี้ ตัวนี้ทำมา 2 เวอร์ชัน มี 4 แบบทั้งตรงและเอียง แต่เวอร์ชัน 2 ควรใช้คู่กับเวอร์ชัน 1 ถึงจะสวยงาม ไม่งั้นหางจะพันกันมั่วดูไม่เข้าที

***ฟอนต์ที่แจกให้ดาวโหลดฟรีชุดนี้ เป็นเพียงตัวทดลองนะครับ ซึ่งมีอักษรและสระไม่ครบ อนุญาตให้นำไปใช้เฉพาะส่วนตัวเท่านั้น ห้ามใช้ในเชิงพาณิชย์ ที่ก่อให้เกิดรายได้ทุกกรณี มิฉะนั้นถือว่าละเมิดลิขสิทธิ์****ขอสงวนสิทธิ์เปลี่ยนแปลงเงื่อนไขโดยไม่แจ้งล่วงหน้า****

Priyati (ปริยัติ)

โดย • 22/07/2562

ป็นฟอนต์ที่ได้รับแรงบันดาลใจมาจากตัวอักษรหน้าปกสมุดนักเรียน ผมคิดว่ามันสวยดีเลยลองหาแบบอักษรที่คล้าย ๆ กันมาเป็น Ref ในการออกแบบชุดตัวอักษรนี้จึงหาชื่อที่เข้ากับคำว่า การศึกษา การเรียนรู้ จึงได้ชื่อ ปริยัติ ในภาษาบาลีแปลว่า การเล่าเรียนเทียบอักษรโรมันก็เลยได้เป็น Priyati