display
Pl-EDIT ฟอนต์ตัวแรกของผมฟอนต์นี้ตอนแรกตั้งใจว่าจะให้ชือว่า “แม่เหล็ก” (เค้าโครงของฟอนต์นี้มาจากอักษรตัว U ในภาษาอังกฤษมีลักษณะคล้ายแม่เหล็ก) เพราะโดยส่วนตัวชอบฟอนต์ที่เป็นลักษณ์ตรงๆ หนาๆ ไปๆ มาๆ กลับกลายต้องมาตัดหัวและหางของตัวอักษรออกให้เฉียงนิดหน่อย (สำหรับบางอักษร) เป็นที่มาของชื่อฟอนต์ว่า “แก้ไข แม่เหล็ก” (magnetic edit)
“…เพราะฉันได้อุทิศชีวิตของฉันให้กับบางสิ่งที่เป็นประโยชน์ ในฐานะเป็นผู้รับใช้ที่ต่ำต้อยในงานศิลปะของฉัน ชีวิตนั้นสั้น….แต่ศิลปะยืนยาว” — ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี บิดาแห่งวงการศิลปะในประเทศไทย
TS-Kaewpet-NP และ TS-Kaewpet Extra-NP
(ขออนุญาตแปะข้อความเต็มๆ จากอาจารย์ธงชัย เจ้าของฟอนต์เลยนะครับ จะได้เข้าถึงอารมณ์กวีของพี่แก) “แก้วเพชร” ชื่อเหมือนมะม่วง แต่คนทำโคตรหล่อลากใส้ เกิดอาการวังเวงหัวใจอยากได้กำลังใจตามสันดานคนหม้ายมีเมีย เขียนตาแทบหลุดแต่สุขใจที่ได้เมาใครถึงไม่เอาไปทำพันธุ์ไง
ครั้งแรกกับ MAX somsin ฟอนต์ตัวที่สอง ที่ทำมาแจกก่อน ซึ่งได้แรงบันดาลใจจากฟอนต์ที่เห็นในหนังฝรั่งแนวสยองขวัญ และได้กลายเป็นอักษรไทยแบบขรุขระ ให้ความรู้สึกเหมือนกำลังถูกใครบางคนจ้องจะเล่นงาน ลองนึกถึงตัวตลกที่ให้เสียงหัวเราะแต่แฝงความดุดันและโหดเหี้ยม
เป็นฟอนต์ที่เริ่มจากตัวหนาก่อน เพราะอยากทดลองขลิบร่องต่างๆ ไม่ให้ดูหนาเกินไป แล้วก็เพิ่งมาทำตัวบางต่อ (เป็นของแถม) เพราะตอนแรกจะไม่ทำตัวบาง แต่ก็เพื่อให้มันใช้ได้ง่ายขึ้นเลยทำแถมขึ้นมา 5555
“อัญชัน” เป็นหนึ่งในชุดอักษรที่ได้ออกแบบเพื่อส่งในงาน TFace2 เช่นเดียวกับฟอนต์นิทาน และเป็นชุดอักษรได้รับรางวัล 1 ใน 20 ฟอนต์ดีเด่นของโครงการ
กลับมาอีกครั้งกับการแจกของดีกันแบบฟรีๆ กับฟอนต์ Waffle ฟอนต์ลายมือสบายๆ อ่านง่าย ใช้งานได้จริง ซึ่งเกิดจากความร่วมมือระหว่าง www.fb.com/wafflevest และ Fontcraft โดยในตอนแรกตั้งใจนำมาแจกฟรีเพื่อส่งเสริมการขาย แต่ตอนนี้ไฟเขียวแจกฟรีอย่างเป็นทางการผ่านเว็บ f0nt.com แล้วจ้า
เอเอสจี มาตรฐาน บาง (ASG Matrathan Light)
อยากได้แบบตัวพิมพ์ที่เป็นตัวเนื้อความแบบกลางๆ ที่เอาใช้ในงานออกแบบของตัวเองได้ โดยที่ไม่ต้องใช้กิติธาดาหรือเฮลเวทไทยก้า ก็เลยลองออกแบบดูให้ดูมาตรฐานในสายตาของผม เน้นความเรียบง่าย สบายตา ประมาณนี้ครับ
แรงบันดาลใจที่ผมได้ทำฟอนต์ตัวนี้ขึ้นมา เนื่องจากผมเป็นช่างเขียนป้ายด้วยมือมาก่อน ฟอนต์ตัวนี้เป็นฟอนต์ที่ใช้ได้หลากหลายมาก เช่น งานประเพณี งานแต่ง งานบวช ป้ายสแตนด์หมอลำ ลิเก วงดนตรีลูกทุ่ง ฯลฯ
พอมาถึงยุคที่ต้องใช้คอมพิวเตอร์ งานสติ๊กเกอร์ งานอิงค์เจ็ต เริ่มเข้ามามีบทบาทมากๆ งานเขียนเขียนมือก็ค่อยๆ เลือนหายไป ผมก็เลยคิดว่า ทำยังไงให้ฟอนต์ตัวนี้จะยังคงอยู่ไม่เลือนหายไปกับช่างเขียน
พอดีได้งานจากลูกค้ารายหนึ่งอยากได้ฟอนต์ไว้ใช้สอยน่ะครับ ปกติผมทำงานพวกออกแบบโลโก้อยู่แล้วเคยแต่ปั้นฟอนต์ที่ทำเป็นโลโก้ ไม่เคยมาจับฟอนต์ทั้งเซ็ตจริงๆ สักที ก็เลยลองเข้ามาหาความรู้ในเว็บฟอนต์ครับ ซึ่งปกติผมจะวนเวียนอยู่แถวๆ หน้าแรกหาฟอนต์ไปใช้ซะมากกว่า แต่ตอนนี้มีอันจะต้องเข้ามาจัดหนักหาความรู้ในฟอรั่มแล้วครับ แฮ่